คุณสามารถแลกลิ้งกับผมได้
.....คุณสามารถแลก ลิ้งกับผมได้นะครับโดยการ Comment วิธี Comment ก็กดตรงที่ Comment และจะมีช่องขึ้นมาให้คุณใส่ข้อความ ให้คุณพิมข้อความอะไรลงไปก็ได้ และต่อท้ายด้วย เว็บ หรือ บล็อก ของคุณ แล้วผมจะแอทลิ้งคุณลงในบัญชีของผม...ขอบคุณที่แอทครับ
*หมายเหตุ:กรุณาอย่าใช้คำที่ไม่สุภาพ
*หมายเหตุ:กรุณาอย่าใช้คำที่ไม่สุภาพ
ระบบเครือข่าย (Network System)
การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องรวมกันเป็นระบบเครือข่าย (Network System) เพื่อประโยชน์ในการแชร์ข้อมูลทำงานร่วมกัน เล่นเกม หรือด้วยวัตตุประสงค์ใดๆก็ตามนั้น จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังนี้
การ์ดแลน (LAN Card)
เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั่งไว้ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่าย การ์ด LAN ส่วนใหญ่จะสนับสนุนความเร็วในการโอนข้อมูลที่ 10 และ 100 Mbps (10/100) ซึ่งเวลาใช้งานจะกำหนดให้เองโอยอัตโนมัติ Mbps (10/100) ซึ่งเวลาใช้งานจะกำหนดให้เองโดยอัตโนมัติ (ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ Hub ที่ใช้) นอกจากนี้การ์ด LAN รุ่นใหม่ๆ ยังสนับสนุนอัตตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลที่ 1000 Mbps หรือที่เรียกว่า Gigabit LAN ด้วย
สำหรับการติดตั้งโดยมากมักใช้เสียบลงในช่องสล็อตแบบ PCI (หีือให้มาเป็นแบบ LAN on Board) และเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ Hub หรือคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นด้วยสาย LAN ผ่านทางขั้วต่อ RJ-45 บนตัวการ์ด แต่สรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันมักจะติดตั้งชิปเน็ตเวิร์กนี้มาให้อยู่แล้ว เพียงแค่ลงไดรเวอร์ก็สามารถใช้งานได้ทันที
สายแลน (Lan Cable)
เป็นสายสัญญารที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกันรวมกันเป็นระบบเครือข่าย โดยหลักๆนิยมใช้กันแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
สาย STP (Shielded Twisted-Pair) เป็นสายเคเบิลแบบเดียวกันกับ UTP หรือ CAT-5 แต่แนวนหุ่มที่เป็นโลหะถักสำหรับใช้ป้องกันสัญญารรบกวนจากภายนอก ดังนั้นจึง เหมาะนำไปใช้เดินสายภายนอกอาคารในระยะที่ไกลเกินกว่าจะใช้สาย UTP ได้
ฮับ (Hub) หรือตัวรวมสาย
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่จุดร่วมของสาย LAN ที่มาจากเครื่องต่างๆและคอยสลับเปลี่ยนการใช้ทรัพยากรร่วมกันของคอมพิวเตอร์ทุกๆเครื่องในระบบเครือข่าย ขีดจำกัดของ Hub แต่ละตัวนอกจากในเรื่องของจำนวนพอร์ตที่มีจำนวนต่างๆกัน เช่น 5, 8, 10, 16 และ 24 พอร์ตหรือมากกว่านั้นแล้ว ยังอยู่ที่เรื่องของความเร๊วที่สนับสนุนด้วย โดย Hub ทั่วๆไปจะสนับสนุนความที่ 10/100 Mbpa
ส่วน Hub รุ่นใหม่ๆในปัจจุบันจะสนับสนุนความเร็วที่ 1000 Mbps ด้วย
ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยอาศัย Hub นั้นคือ หากสายใดมีปัณหาหรือผิดปกติก็ไม่กระทบต่อเครื่องอื่นๆและสามารถปลดออกได้ง่าย นอกจากนี้ยังสะดวกในการจัดเก็บเข้าตู้ โยกย้ายสาย สลับเครื่อง เพิ่มจำนวนเครื่อง ฯลฯ
Fast Ethernet และ Gigabit Ethernet
Ethernet ในปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้มีอัตรความเร็วในการถ่ายโอนเพิ่มขึ้นเป็น 100, 1000 และล่าสุด 10,000 Mbps (Gbps) ซึ่งมากพอที่จะถ่ายโอนข้อมูลขนาดใหย่หรือภาพนิ่ง รวมถึงการถ่ายโอนข้อมูลภาพเครื่องไหว และเสียงในลักษณะเสมือนจริง (Real-Tine) ได้ดีขึ้นกว่าเดิม สำหรับมาตรฐานต่างๆของ Ethernet ความเร็วสูงมีดังนี้
เป็นเครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (RF:Radio Firequency) โดยคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่ได้รับการติดตั้งตัวส่ง (การ์ด Wireless สำหรับเครื่องพีซี หรือ การ์ดเน็ตเวิร์ึคแบบ PCMCIA สำหรับเครื่องโน็ตบุ๊ค) ไว้ จะส่งสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศหาตัวรับที่เรียกว่า Wireless Access Point ซึ้งต่อเข้ากับสาย LAN ธรรดา โดยเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายตามปกติอีกทอดหนึ่งประโยช์ของเครือข่ายแบบนี้ก็คือ ไม่ต้องเดินสาย LAN ให้ระเกะระกะเหมือนกับเครือข่ายแบบอื่นๆ เหมาะสำหรับการใช้งานในบ้านหรือออฟฟิศที่ไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องของสัญญาณรบกวนคลื่นวิทยุมากนักและไม่สะดวกในการเดินสาย
สำหรับคลื่นวิทยุนี้มีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนัง กำแพง หรือเพดาน เป็นต้น ส่วนมาตรฐานที่นิยมใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันคือ IEEE 802.11g ซึ่งให้อัตตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดที่ 54 Mbps คลอบคลุมพื้นที่ในระยะรัสมีเกิน 30-45 เมตร
ขอบคุณที่อ่านบทความของผมครับ
การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องรวมกันเป็นระบบเครือข่าย (Network System) เพื่อประโยชน์ในการแชร์ข้อมูลทำงานร่วมกัน เล่นเกม หรือด้วยวัตตุประสงค์ใดๆก็ตามนั้น จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังนี้
การ์ดแลน (LAN Card)
เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั่งไว้ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่าย การ์ด LAN ส่วนใหญ่จะสนับสนุนความเร็วในการโอนข้อมูลที่ 10 และ 100 Mbps (10/100) ซึ่งเวลาใช้งานจะกำหนดให้เองโอยอัตโนมัติ Mbps (10/100) ซึ่งเวลาใช้งานจะกำหนดให้เองโดยอัตโนมัติ (ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ Hub ที่ใช้) นอกจากนี้การ์ด LAN รุ่นใหม่ๆ ยังสนับสนุนอัตตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลที่ 1000 Mbps หรือที่เรียกว่า Gigabit LAN ด้วย
สำหรับการติดตั้งโดยมากมักใช้เสียบลงในช่องสล็อตแบบ PCI (หีือให้มาเป็นแบบ LAN on Board) และเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ Hub หรือคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นด้วยสาย LAN ผ่านทางขั้วต่อ RJ-45 บนตัวการ์ด แต่สรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันมักจะติดตั้งชิปเน็ตเวิร์กนี้มาให้อยู่แล้ว เพียงแค่ลงไดรเวอร์ก็สามารถใช้งานได้ทันที
สายแลน (Lan Cable)
เป็นสายสัญญารที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกันรวมกันเป็นระบบเครือข่าย โดยหลักๆนิยมใช้กันแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
- สาย UTP (Unshieded Twised-Pair) หรือ CAT-5 เป็นสายเคเบิลที่ภายในบรรจุสัญญารขนาดเล็กคล้ายสายโทรศัพท์จำนวน 8 เส็นตีเกียวเป็นคู่ๆ ไม่มีฉนวนหุ่มที่เป็นโลหะถักสำหรับใช้ป้องกันสัญญารรบกวน ดังนั้นจึงมักนิยมเดินสายภายในอาคารสนับสนุนความเร็วที่ 10/100 Mbps แต่ถ้าเป็นสาย CAT-5e หรือ CAT-6 สนับสนุนความเร็วที่ 1000 Mbps ด้วย
สาย STP (Shielded Twisted-Pair) เป็นสายเคเบิลแบบเดียวกันกับ UTP หรือ CAT-5 แต่แนวนหุ่มที่เป็นโลหะถักสำหรับใช้ป้องกันสัญญารรบกวนจากภายนอก ดังนั้นจึง เหมาะนำไปใช้เดินสายภายนอกอาคารในระยะที่ไกลเกินกว่าจะใช้สาย UTP ได้
ฮับ (Hub) หรือตัวรวมสาย
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่จุดร่วมของสาย LAN ที่มาจากเครื่องต่างๆและคอยสลับเปลี่ยนการใช้ทรัพยากรร่วมกันของคอมพิวเตอร์ทุกๆเครื่องในระบบเครือข่าย ขีดจำกัดของ Hub แต่ละตัวนอกจากในเรื่องของจำนวนพอร์ตที่มีจำนวนต่างๆกัน เช่น 5, 8, 10, 16 และ 24 พอร์ตหรือมากกว่านั้นแล้ว ยังอยู่ที่เรื่องของความเร๊วที่สนับสนุนด้วย โดย Hub ทั่วๆไปจะสนับสนุนความที่ 10/100 Mbpa
ส่วน Hub รุ่นใหม่ๆในปัจจุบันจะสนับสนุนความเร็วที่ 1000 Mbps ด้วย
ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยอาศัย Hub นั้นคือ หากสายใดมีปัณหาหรือผิดปกติก็ไม่กระทบต่อเครื่องอื่นๆและสามารถปลดออกได้ง่าย นอกจากนี้ยังสะดวกในการจัดเก็บเข้าตู้ โยกย้ายสาย สลับเครื่อง เพิ่มจำนวนเครื่อง ฯลฯ
Fast Ethernet และ Gigabit Ethernet
Ethernet ในปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้มีอัตรความเร็วในการถ่ายโอนเพิ่มขึ้นเป็น 100, 1000 และล่าสุด 10,000 Mbps (Gbps) ซึ่งมากพอที่จะถ่ายโอนข้อมูลขนาดใหย่หรือภาพนิ่ง รวมถึงการถ่ายโอนข้อมูลภาพเครื่องไหว และเสียงในลักษณะเสมือนจริง (Real-Tine) ได้ดีขึ้นกว่าเดิม สำหรับมาตรฐานต่างๆของ Ethernet ความเร็วสูงมีดังนี้
- 100Base-T เป็นระบบที่ถูกพฒนาต่อจาก Ethernet ธรรดา โดยใช้สาย UTP หรือ CAT-5 เชื่อมต่อเข้ากับ Hub สนับสนุนความเร็ว 10/100 Mbps สาย UTP หรือ CAT-5 ที่ใช้ระบบ 100Base-T นี้จะแยกการส่งข้อมูลออกเป็น 4 คู่สาย ด้วยความเร็วคู่สายและ 25 Mbps รวมเป็น 25 x 4 = 100 Mbps
- 100ฺBase-T หรือ Gigaabit Ethernet เป็นระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมาอีกขั้นให้สามารถถ่ายโอนข้อมูล ด้วยความเร็วสูงขึ้นเป็น 1,000 Mbps (1 Gbps) โดยใช้สาย UTP หรือ CAT-5e (CAT-6) ซึ่งกำลังเป็นมาตรฐานใหม่ของเครือข่ายสำหรับงานที่ต้องการโอนถ่ายข้อมูลด้วยความเร็วสูง ส่วน 1000Base-F นั้นใช้สาย Fiber Optic (เส้นใยแก้วแสง) ในการโอนถ่ายข้อมูล
- 10 Gigabit Ethernrt เป็นระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมาล่าสุดให้สามารถถ่ายโอนข้อมูลด้วยความเร็วสูงขึ้นเป็น 10,000 Mbps (10 Gbps) ปัจจุบันนำมาใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องเซอร์ฟเวอร์ด้วยกัน
เป็นเครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (RF:Radio Firequency) โดยคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่ได้รับการติดตั้งตัวส่ง (การ์ด Wireless สำหรับเครื่องพีซี หรือ การ์ดเน็ตเวิร์ึคแบบ PCMCIA สำหรับเครื่องโน็ตบุ๊ค) ไว้ จะส่งสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศหาตัวรับที่เรียกว่า Wireless Access Point ซึ้งต่อเข้ากับสาย LAN ธรรดา โดยเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายตามปกติอีกทอดหนึ่งประโยช์ของเครือข่ายแบบนี้ก็คือ ไม่ต้องเดินสาย LAN ให้ระเกะระกะเหมือนกับเครือข่ายแบบอื่นๆ เหมาะสำหรับการใช้งานในบ้านหรือออฟฟิศที่ไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องของสัญญาณรบกวนคลื่นวิทยุมากนักและไม่สะดวกในการเดินสาย
สำหรับคลื่นวิทยุนี้มีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนัง กำแพง หรือเพดาน เป็นต้น ส่วนมาตรฐานที่นิยมใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันคือ IEEE 802.11g ซึ่งให้อัตตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดที่ 54 Mbps คลอบคลุมพื้นที่ในระยะรัสมีเกิน 30-45 เมตร
ขอบคุณที่อ่านบทความของผมครับ
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
Post a Comment